กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์

<h4><span style=”color: #ff0000;”> <strong>กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ภายใต้วิถีโหนด-นา-เลในพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ</strong></span></h4><h4><span style=”color: #ff0000;”> <strong>กิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ภายใต้วิถีโหนด-นา-เลในพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ</strong></span></h4><a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/1.png”><img class=”aligncenter wp-image-689 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/1.png” alt=”1″ width=”671″ height=”449″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/2.png”><img class=”aligncenter wp-image-690 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/2.png” alt=”2″ width=”670″ height=”447″ /></a><p style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>การเลี้ยงควายไล่ทุ่งในตำบลบางเขียด</strong></span></p><a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/3.png”><img class=”aligncenter wp-image-691 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/3.png” alt=”3″ width=”636″ height=”412″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/4.png”><img class=”aligncenter wp-image-692 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/4.png” alt=”4″ width=”636″ height=”449″ /></a><p style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>การเลี้ยงวัวในชุมชนสทิงพระ</strong></span></p><a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/5.png”><img class=”aligncenter wp-image-693 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/5.png” alt=”5″ width=”652″ height=”414″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/6.png”><img class=”aligncenter wp-image-694 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/6.png” alt=”6″ width=”647″ height=”432″ /></a><p style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>การเลี้ยงวัวเป็นวิถีของคนในคาบสมุทรสทิงพระ</strong></span></p><a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/7.png”><img class=”aligncenter wp-image-695 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/7.png” alt=”7″ width=”654″ height=”434″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/8.png”><img class=”aligncenter wp-image-696 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/8.png” alt=”8″ width=”657″ height=”438″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/9.png”><img class=”aligncenter wp-image-697 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/9.png” alt=”9″ width=”652″ height=”436″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/10.png”><img class=”aligncenter wp-image-698 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/10.png” alt=”10″ width=”648″ height=”429″ /></a><p style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและเลี้ยงเป็ดคอก</strong></span></p><a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/11.png”><img class=”aligncenter wp-image-699 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/11.png” alt=”11″ width=”646″ height=”421″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/12.png”><img class=”aligncenter wp-image-700 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/12.png” alt=”12″ width=”642″ height=”380″ /></a><p style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>การเลี้ยงไก่ปล่อยในพื้นที่บ้านตำบลสนามชัย</strong></span></p><a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/13.png”><img class=”aligncenter wp-image-701 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/13.png” alt=”13″ width=”661″ height=”459″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/14.png”><img class=”aligncenter wp-image-702 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/14.png” alt=”14″ width=”659″ height=”476″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/15.png”><img class=”aligncenter wp-image-703 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/15.png” alt=”15″ width=”645″ height=”430″ /></a>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/16.png”><img class=”aligncenter wp-image-704 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/16.png” alt=”16″ width=”644″ height=”428″ /></a><p style=”text-align: center;”><span style=”color: #008000;”><strong>การเลี้ยงแพะส่วนใหญ่ชาวบ้านจะเลี้ยงแบบปล่อย บางคนจะเลี้ยงไว้ในคอก</strong></span></p>
<h5><span style=”color: #ff0000;”><strong>การเลี้ยงหมู</strong></span></h5><span style=”color: #008000;”><strong>       “หมูหลุม”เป็นภาษาชาวบ้านที่เรียกการเลี้ยงหมูแบบขุดหลุมลึก โดยมีวัสดุรองพื้นหลุม มีแนวคิดตามหลักการของ “เกษตรกรรมธรรมชาติ” เป็นการเกษตรที่ไม่เพียงแต่คำนึงถึงผลผลิตจากการเกษตรเท่านั้น แต่มีแนวคิดอยู่เบื้องหลังของการทำงาน เป็นการทำแบบการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ความเป็นองค์รวมของระบบนิเวศด้านการเกษตร วงจรชีวภาพห่วงโซ่อาหาร ดิน พืช สัตว์ จุลินทรีย์ พลังธรรมชาติหมุนเวียนจากพลังงานแสงแดด และน้ำ นำมาเป็นปัจจัยในการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ที่เกื้อกูลซึ่งกันและกัน พืชที่ปลูกส่วนหนึ่งนำมาเลี้ยงสัตว์ สัตว์ถ่ายมูลออกมาก็นำปุ๋ยมูลสัตว์มาเพิ่มความอุดมสมบรูณ์ให้กับดินเพื่อการ ปลูกพืช รวมถึงด้านเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่น และการพึ่งพาตนเองในด้านการผลิตและการบริโภคขนาดเล็กและขนาดกลาง ที่เหมาะสมกับทรัพยากร ภูมิปัญญาในท้องถิ่น และวัฒนธรรมที่มีในชุมชน โดยมีเป้าหมาย การฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน การอยู่ดีกินดีของคนชนบท และสุขภาพของประชากร นำไปสู่การแก้ไขปัญหาความยากจนในที่สุด(กฤตยา กันหาอุดม, 2555)</strong></span>
<a href=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/17.png”><img class=”aligncenter wp-image-705 size-full” src=”http://www.nodnalay.com/wp-content/uploads/2015/09/17.png” alt=”17″ width=”681″ height=”451″ /></a>
&nbsp;
<span style=”color: #008000;”><strong>       ประโยชน์การเลี้ยงหมูหลุม</strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       เป็นการลดต้นทุนค่าอาหารได้ถึง </strong><strong>50 – 70 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเน้นการใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น และการใช้พืชผักนานาชนิด มาใช้เลี้ยงหมูเป็นหลักนอกจากนั้นยังพบว่าการเลี้ยงหมูหลุมทำให้ลดภาระการเลี้ยงหมูของเกษตรกรเนื่องจากไม่ต้องทำความสะอาดพื้นคอกลดมลภาวะของเสียจากการเลี้ยงหมู ทำให้ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีแมลงวันไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมในชุมชนอีกทั้งยังได้ปุ๋ยอินทรีย์ สำหรับการปลูกพืช</strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       การสร้างโรงเรือนหมูหลุม และการให้อาหาร</strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       ควรสร้างบนที่ดอน น้ำท่วมไม่ถึง อากาศถ่ายเทได้สะดวก สร้างโรงเรือนตามแนวทิศตะวันออก ตะวันตก วัสดุการก่อสร้างโรงเรือน ควรเป็นวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น พื้นที่สร้างคอกคำนวณได้จาก จำนวนหมู </strong><strong>1 ตัวต่อพื้นที่ 1.5-2 ตารางเมตร คอกขนาด 2.5 x 3 เมตร เลี้ยงหมูได้ 4 ตัว คอกขนาด 4 x 4 เมตร เลี้ยงหมูได้ 8 ตัวมีวิธีการสร้างคอกหมูหลุมดังนี้  </strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       ขุดดินออกในส่วนพื้นที่จะสร้างคอก ลึก </strong><strong>90 ซ.ม. ใช้อิฐบล็อกกั้นด้านข้างคอกเหนือขอบหลุมสูงประมาณ 20 ซ.ม. เพื่อกั้นดิน และฝนสาดลงในหลุม ใส่วัสดุรองพื้นคอกลงไปในหลุม ซึ่งประกอบด้วย ขี้เลื่อย หรือแกลบ 100 ส่วน ดินส่วนที่ขุดออก หรือปุ๋ยคอก 10 ส่วน เกลือ 0.3 – 0.5 ส่วน รำละเอียด 1 ส่วน</strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       การเตรียมพื้นคอกหมูหลุม แบ่งความลึกของหลุมเป็น </strong><strong>3 ส่วน แต่ละส่วนมีความลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร ในแต่ละชั้น ให้เริ่มต้นจากการใส่แกลบหรือขี้เลื่อยลงไปก่อน ให้มีความสูงประมาณ 20 เซนติเมตร ตามด้วยดินที่ขุดหรือปุ๋ยคอก โรยทับด้วยรำละเอียดและเกลือ จากนั้นรดด้วยน้ำหมักชีวภาพให้มีความชื้นพอหมาด (ความชื้นประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์) ถ้าจะให้ผลดีต่อประสิทธิภาพการย่อยสลายวัสดุรองพื้นคอก ควรโรยดินที่มีเชื้อราขาวบาง ๆ (เชื้อไตรโครเดอร์มา) ในแต่ละชั้น ทำจนครบ 3 ชั้น ในชั้นสุดท้าย ให้แกลบหรือขี้เลื่อยสูงเพียง 20 เซนติเมตร เพราะชั้นบนสุดโรยแกลบปิดหน้าหนา 1 ฝ่ามือ ทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน จึงนำหมูมาเลี้ยง</strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       พันธุ์สุกร ควรใช้สุกร 3 สายเลือดจากฟาร์มที่เลี้ยงแม่พันธุ์เอง และคัดสายพันธุ์มาสำหรับการเลี้ยงแบบปล่อยได้ดี ลูกสุกรขุนหย่านมแล้ว อายุประมาณ 1 – 2 เดือน ควรมีน้ำหนัก ตั้งแต่ 15 – 20 กิโลกรัม ในช่วงเดือนแรกให้ใช้อาหารเม็ดหมูอ่อนก่อนหลังจากนั้นค่อยเปลี่ยน เป็นอาหารผสมพวกรำ –ปลายข้าว และผสมพืชหมัก เศษผักหรือผักต่าง ๆ ในท้องถิ่น น้ำดื่มใช้น้ำหมักสมุนไพร,น้ำหมักผลไม้อัตรา 2 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 10 ลิตร ใช้น้ำหมักชีวภาพรดพื้นคอก สัปดาห์ละครั้งเพื่อช่วยลดกลิ่น หากขี้เลื่อยหรือแกลบภายในหลุมยุบตัวลง ให้เติมเข้าไปใหม่จนเสมอปากหลุม</strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       การให้อาหาร ในช่วงหมูเล็ก(หลังจากหย่านมจนถึงน้ำหนัก </strong><strong>30 กิโลกรัม) จะใช้อาหารเม็ดของอาหารหมูอ่อน หรืออาจจะผสมอาหารหมูเล็กเอง(อาหารข้น) หลังจากนั้นให้ใช้ต้นกล้วย การเลี้ยงหมู 1 ชุด (5 ตัว) จะให้ปุ๋ยประมาณ 2,500 กิโลกรัม ทำให้เกษตรกรมีปุ๋ยคอกไปใส่นาข้าว การเลี้ยงหมูชีวภาพจะใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 4 เดือน ได้น้ำหนักประมาณ 100 กก. ใช้ต้นกล้วย หรือหญ้า นำมาสับให้เป็นชิ้นเล็กๆสมกับน้ำตาล ทรายแดง โดยใช้อัตราส่วน น้ำตาล 1 กิโลกรัมต่อต้นกล้วย หรือหญ้าสับ 25 กิโลกรัม และเกลือ 2.5 ขีด คลุกเคล้าให้ เข้ากันดี(หรือ ๑๐๐-๔-๑)ใส่ ใน ถัง-โอ่งหมัก ปิดด้วยกระดาษ หรือถุงปุ๋ยที่อากาศถ่ายเทได้ หมักทิ้งไว้ในที่ร่ม 4-5 วัน หมูรุ่น (น้ำหนัก 30 – 60 กก.) ใช้อาหารผสม 2 ส่วน ผสมอาหารหมัก 1 ส่วน ให้กินวันละ 2-3 กก. ต่อวันหมูขุน (น้ำหนัก 60 – 100 กก.) ใช้อาหารผสม 1 ส่วน ผสมอาหารหมัก 1 ส่วน ให้กินวันละ 4-6 กก. ต่อวัน แม่หมูอุ้มท้อง ใช้อาหารผสม 1 ส่วน ผสมอาหารหมัก 2 ส่วน ให้กินวันละ 3-4 กก. ต่อวัน</strong></span>
<span style=”color: #008000;”><strong>       การทำน้ำหมักสมุนไพร เพื่อนำมาผสมในน้ำดื่ม จะช่วยลดกลิ่นมูลของหมูได้เป็นอย่างดี โดยทำให้การเลี้ยงหมู ไม่มีกลิ่นเหม็น และไม่มีแมลงวันโดยมีวิธีการทำดังนี้</strong></span><ol> <li><span style=”color: #008000;”><strong> ใช้สมุนไพร เช่น ตะไคร้ ใบมะกรูด ข่า ขมิ้น บอระเพ็ด และใบเตย นำสมุนไพรทั้งหมดมาสับเป็นชิ้นเล็กๆ</strong></span></li> <li><span style=”color: #008000;”><strong> นำสมุนไพร 1 กิโลกรัม ผสมกับน้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม หมักใส่ในถังพลาสติกหรือไห</strong></span></li> <li><span style=”color: #008000;”><strong> ปิดด้วยกระดาษ หมักทิ้งไว้อย่างน้อย 1 เดือน การนำมาใช้ ใช้น้ำหมักสมุนไพร 2 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำสะอาด 10 ลิตรนอกจากนี้ยังสามารถนำไปรดพื้นคอกเพื่อลดกลิ่น โดยใช้น้ำหมัก สมุนไพร 3-4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร</strong></span></li></ol><strong> </strong>
<strong> </strong>
<strong>เอกสารอ้างอิง</strong>
<strong>กฤตยา กันหาอุดม.  (2555).  <em>การเลี้ยงหมูหลุมแบบธรรมชาติ</em>.  สงขลา: สำนักงานปศุสัตว์เขต 9ค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2558, จาก:http://region9.dld.go.th/index.php?option=com</strong>

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *